Data Manipulation Language(DML )
DML
เป็นภาษาใช้สำหรับจัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่การเรียกค้น เพิ่ม ลบ และปรับปรุงฐานข้อมูล ภาษาจัดการข้อมูล (DML) มี ประเภทหลักๆ คือเป็นภาษาที่ผู้ใช้กำหนดโครงสร้างหรือแบบแผนในการเก็บข้อมูล เช่น กำหนดหัวข้อและลักษณะของคอลัมน์ของตารางต่าง ๆ ที่จะใช้บันทึกข้อมูล ภาษากำหนดข้อมูล จะทำให้เกิดตารางที่จะจัดเก็บข้อมูลที่สำคัญต่อการทำงานของ DBMS ขึ้นมาชุดหนึ่ง ตารางนี้มีชื่อว่า พจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลจะอาศัยโครงสร้างจากแฟ้มข้อมูลนี้เสมอ เช่น ดัชนี (index) ต่าง ๆ เป็นต้น
การเรียกดูข้อมูลออกจากฐานข้อมูลจะต้องผ่านคำสั่งหรือข้อความของภาษาจัดการข้อมูลหาข้อความ ซึ่งกลุ่มของข้อความเหล่านั้นมีลักษณะเป็นการถามระบบข้อมูลเพื่อให้ระบบจัดการฐานข้อมูลหาคำตอบจากข้อมูลที่เก็บไว้และตอบกลับมา กลุ่มของข้อความเหล่านั้นเรียกว่า ภาษาคำถาม (query language) แต่โดยทั่วไปแล้วคำว่า DML และ ภาษาคำถาม จะใช้แทนกันเสมอ
เช่น
SELECT EMPLOYEE-NAME
FROM EMPLOYEE-FILE
WHERE SEX = “FEMALE” AND SALARY GREATER THAN 5000
เป็นการไปเรียกดูข้อมูลชื่อของลูกจ้างที่เป็นผู้หญิงและมีเงินเดือนมากกว่า 5,000 จากฐานข้อมูลชื่อ EMPLOYEE-FILE
DML
เป็นภาษาใช้สำหรับจัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่การเรียกค้น เพิ่ม ลบ และปรับปรุงฐานข้อมูล ภาษาจัดการข้อมูล (DML) มี ประเภทหลักๆ คือเป็นภาษาที่ผู้ใช้กำหนดโครงสร้างหรือแบบแผนในการเก็บข้อมูล เช่น กำหนดหัวข้อและลักษณะของคอลัมน์ของตารางต่าง ๆ ที่จะใช้บันทึกข้อมูล ภาษากำหนดข้อมูล จะทำให้เกิดตารางที่จะจัดเก็บข้อมูลที่สำคัญต่อการทำงานของ DBMS ขึ้นมาชุดหนึ่ง ตารางนี้มีชื่อว่า พจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลจะอาศัยโครงสร้างจากแฟ้มข้อมูลนี้เสมอ เช่น ดัชนี (index) ต่าง ๆ เป็นต้น
การเรียกดูข้อมูลออกจากฐานข้อมูลจะต้องผ่านคำสั่งหรือข้อความของภาษาจัดการข้อมูลหาข้อความ ซึ่งกลุ่มของข้อความเหล่านั้นมีลักษณะเป็นการถามระบบข้อมูลเพื่อให้ระบบจัดการฐานข้อมูลหาคำตอบจากข้อมูลที่เก็บไว้และตอบกลับมา กลุ่มของข้อความเหล่านั้นเรียกว่า ภาษาคำถาม (query language) แต่โดยทั่วไปแล้วคำว่า DML และ ภาษาคำถาม จะใช้แทนกันเสมอ
เช่น
SELECT EMPLOYEE-NAME
FROM EMPLOYEE-FILE
WHERE SEX = “FEMALE” AND SALARY GREATER THAN 5000
เป็นการไปเรียกดูข้อมูลชื่อของลูกจ้างที่เป็นผู้หญิงและมีเงินเดือนมากกว่า 5,000 จากฐานข้อมูลชื่อ EMPLOYEE-FILE
ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML )
เป็นชุดคำสั่งที่ใช้สำหรับประมวลผลหรือจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล คำสั่งที่จัดอยู่ในประเภท DML
ได้แก่ คำสั่ง SELECT, INSERT, UPDATE, DELETE เป็นต้น
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการเรียกค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลมาแสดงตามที่ผู้ใช้ต้องการ ในการเรียกค้นข้อมูลสามารถใช้คำสั่งได้หลายลักษณะ
ดังนี้คือ
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการเรียกดูข้อมูลอย่างง่ายที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งที่ใช้การเรียกดูข้อมูลเฉพาะที่ตรงกับเงื่อนไขที่ผู้ใช้ต้องการ โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อใช้ในการเรียกดูข้อมูลจากหลายตาราง เนื่องจากบางครั้งข้อมูลที่ต้องการอยู่ในหลาย ๆ ตาราง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการใช้คำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาจากหลายตาราง
เป็นคำสั่งพิเศษที่มีอยู่ในภาษา SQL ได้แก่คำสั่งต่อไปนี้
COUNT ใช้สำหรับนับจำนวนแถวข้อมูลของคอลัมน์ ว่าในคอลัมน์นั้นมีข้อมูลจำนวนกี่แถว
SUM ใช้สำหรับหาผลรวมข้อมูลที่เป็นตัวเลขของคอลัมน์
AVG ใช้สำหรับหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่เป็นตัวเลขของคอลัมน์
MAX ใช้สำหรับหาค่าข้อมูลตัวเลขที่มากที่สุดของคอลัมน์
MIN ใช้สำหรับหาค่าข้อมูลตัวเลขที่น้อยที่สุดของคอลัมน์
ฟังก์ชั่นพิเศษนี้นำไปใช้โดยใส่ไว้หลังคำสั่ง SELECT และตามด้วยคอลัมน์ เป็นการกำหนดว่าให้ฟังก์ชั่นนี้กระทำกับ คอลัมน์ใด ๆ
โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อเพิ่มข้อมูลเข้าไปในตาราง โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อมูลที่เคยบันทึกไว้แล้วในตาราง โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อลบแถวข้อมูลออกจากตาราง ซึ่งจะลบข้อมูลเฉพาะที่ตรงกับเงื่อนไขที่ผู้ใช้ต้องการ โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นชุดคำสั่งที่ใช้สำหรับประมวลผลหรือจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล คำสั่งที่จัดอยู่ในประเภท DML
ได้แก่ คำสั่ง SELECT, INSERT, UPDATE, DELETE เป็นต้น
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการเรียกค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลมาแสดงตามที่ผู้ใช้ต้องการ ในการเรียกค้นข้อมูลสามารถใช้คำสั่งได้หลายลักษณะ
ดังนี้คือ
เป็นคำสั่งที่ใช้ในการเรียกดูข้อมูลอย่างง่ายที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งที่ใช้การเรียกดูข้อมูลเฉพาะที่ตรงกับเงื่อนไขที่ผู้ใช้ต้องการ โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อใช้ในการเรียกดูข้อมูลจากหลายตาราง เนื่องจากบางครั้งข้อมูลที่ต้องการอยู่ในหลาย ๆ ตาราง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการใช้คำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาจากหลายตาราง
เป็นคำสั่งพิเศษที่มีอยู่ในภาษา SQL ได้แก่คำสั่งต่อไปนี้
COUNT ใช้สำหรับนับจำนวนแถวข้อมูลของคอลัมน์ ว่าในคอลัมน์นั้นมีข้อมูลจำนวนกี่แถว
SUM ใช้สำหรับหาผลรวมข้อมูลที่เป็นตัวเลขของคอลัมน์
AVG ใช้สำหรับหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่เป็นตัวเลขของคอลัมน์
MAX ใช้สำหรับหาค่าข้อมูลตัวเลขที่มากที่สุดของคอลัมน์
MIN ใช้สำหรับหาค่าข้อมูลตัวเลขที่น้อยที่สุดของคอลัมน์
ฟังก์ชั่นพิเศษนี้นำไปใช้โดยใส่ไว้หลังคำสั่ง SELECT และตามด้วยคอลัมน์ เป็นการกำหนดว่าให้ฟังก์ชั่นนี้กระทำกับ คอลัมน์ใด ๆ
โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อเพิ่มข้อมูลเข้าไปในตาราง โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อมูลที่เคยบันทึกไว้แล้วในตาราง โดยมีรูปแบบดังนี้
เป็นคำสั่งเพื่อลบแถวข้อมูลออกจากตาราง ซึ่งจะลบข้อมูลเฉพาะที่ตรงกับเงื่อนไขที่ผู้ใช้ต้องการ โดยมีรูปแบบดังนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น